วันอาทิตย์ที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

表示ラベル2


4.消費期限   VS   賞味期限

เอาล่ะ มาถึงประเด็นสำคัญ
เคยรู้มั้ย? ว่าวันหมดอายุของอาหารญี่ปุ่นมันมี 2 แบบ นะ ฮั่นแน่ ไม่เคยรู้ล่ะสิ  เดี๋ยวจะบอกให้ฟัง

消費期限  しょうひきげん    วันหมดอายุ ( ถ้ากินเลยวันที่กำหนดอาจท้องเสียได้)
( 開封していない状態で、表示されている保存方法に従って保存したときに、食べても安全な期限 )
消費  しょうひ การอุปโภคบริโภค  
期限 きげん  ระยะเวลาที่กำหนด
表示されている日が過ぎて、まだ食べなかったら、お腹を壊す場合があるかもしれないので、注意しましょう!


 ส่วน    賞味期限  しょうみきげん วันหมดอายุความอร่อย ( ถ้ากินเลยวันที่กำหนดอาจไม่อร่อย แต่ไม่ท้องเสีย)
( 開封していない状態で、表示されている保存方法に従って保存したときに、おいしく食べられる期限 )
賞味 しょうみ  การลิ้มชิมรส
表示されている日が過ぎて、まだ食べなかったら、味が変わる場合があるかもしれないので、注意しましょう!


อย่างของในรูปเขียนว่า  缶底に記載 かんぞこにきさい เขียนอยู่ใต้กระป๋อง ( ให้ไปดูเอาเองนะ อิอิ)
缶底 かんぞこ ใต้กระป๋อง
記載 きさい การเขียนบันทึกลง การจดบันทึก


เกร็ดความรู้ !
消費期限又は賞味期限の項目名を表示した上で、「年」「月」「日」の 順で表示します
วันหมดอายุของญี่ปุ่น เค้าเรียงจาก  ปี  เดือน  วัน  นะเออ
และถ้าขนมหรืออาหารชนิดไหนมีวันหมดความอร่อย 賞味期限 เกิน 3 เดือน อนุญาตให้เขียนแค่ ปี กับ  เดือน ได้ แต่จะหมดความอร่อยภายในสิ้นเดือนนั้น














5.保存方法 ほぞんほうほう  วิธีเก็บรักษา もともとの品質があるように保つ方法

保存  ほぞん    การเก็บรักษาไว้ในสภาพที่เหมือนเดิม
方法  ほうほう  วิธีการ

ในที่นี้ก็เขียนว่า 直射日光・高温・多湿の所を避けて保存してください。
แปลว่า กรุณาเก็บโดยหลีกเลี่ยงพื้นที่ที่แสงแดดส่องถึง พื้นที่ที่มีอุณหภูมิสูงและพื้นที่ที่มีความชื้นสูง

 直射日光 ちょくしゃにっこう  แสงแดดส่องถึง
高温  こうおん  อุณหภูมิสูง
多湿 たしつ  ความชื้นสูง











6. 製造者 (加工者・販売者・輸入車) 

製造者 せいぞうしゃ ผู้ผลิตสินค้า       品物を作る人
แบ่งเป็น

加工者 かこうしゃ          ผู้แปรรูป/ผู้ดำเนินการ  原料から品物にする人
販売者 はんばいしゃ    ผู้จำหน่าย 売る人
輸入者 ゆにゅうしゃ  ผู้นำเข้า 輸入する人

จากรูป บอกแค่ 販売者(ผู้จำหน่าย) ซึ่งก็คือ 株式会社 ロッテ NM3 ห้างหุ้นส่วนจำกัดลอตเต้ NM3 นั่นเอง
株式会社 かぶしきがいしゃ ห้างหุ้นส่วนจำกัด / บริษัทหุ้นส่วนจำกัด

 ーーーーーーーーーーーーーーーーーーーーーーーーーーーーーーーーーーーー

จบแล้วค่าาา  เป็นยังไงกันบ้างคะ หิวละสิ ฮ่าาาา  ผู้เขียนก็หิว - -


       จากการเขียนบล็อกครั้งนี้ก็ทำให้รู้คำศัพท์เกี่ยวกับฉลากอาหารหรือขนมของญี่ปุ่นหลายคำเลย และยังสามารถต่อยอดไปสู่คำศัพท์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง เช่น คำว่า 加工者 หรือ   直射日光 เป็นต้น และได้เกร็ดความรู้อื่นๆที่เคยไม่รู้มาก่อน อีกด้วย  เช่น เรื่องวันหมดอายุ เป็นต้น  และคิดว่าตนบรรลุวัตถุประสงค์  รู้สึกว่าตนเองได้ลองฝึกคิด ฝึกเขียน  ฝึกหาข้อมูล และได้คำศัพท์เกินเป้าหมายค่ะ
       ต่อจากนี้ก็สามารถอ่านฉลากขนมญี่ปุ่นเข้าใจแล้วค่ะ เย้!

       แล้วเจอกันใหม่ค่ะ ^^


10 ความคิดเห็น:

  1. >..< โว้ววว เป็นประโยชน์มากๆเลยค่ะ เรื่องของกินนี่สำคัญที่สุดดด
    เพิ่งรู้ว่าที่ญี่ปุ่นมีวันหมดอายุสองแบบ เห็นแล้วประทับใจงะ เค้าดูใส่ใจผู้บริโภคมากๆ ที่ไทยมีเหมือนกันรึเปล่านะ? ไม่เคยได้สังเกต

    ชอบมากเลยที่มีคำอธิบายเป็นภาษาญี่ปุ่นง่ายๆให้เข้าใจถ่องแท้ T^T

    ตอบลบ
    คำตอบ
    1. นี่ก็เพิ่งสังเกตเหมือนกัน 55 ที่ไทยมีอันเดียว

      ลบ
  2. เราเคยอยากรู้เรื่องนี้เหมือนกัน เคยลองพลิกอ่านกล่องขนมเวลากิน เเต่ก็พบว่าคันจิมันยากเกินความสามารถจริงๆ 555+ ก็เลยพลิกกลับไปกินเหมือนเดิม เข้าใจง่ายมากเลย เดี๋ยวจะเเวะเข้ามาดูเรื่อยๆนะ

    ตอบลบ
    คำตอบ
    1. ทีนี้ก็พอจะรู้เรื่องมั่งแล้วชิมิ อิอิ

      ลบ
  3. น่าสนใจมากค่ะ คราวหน้าถ้าจะซื้อขนมญี่ปุ่นกินก็รู้หมดเลยว่าข้อความไหนหมายความว่าไงแบบชัวร์ๆ
    ปกติ 消費期限 กับ 賞味期限 ก็ไม่ค่อยได้สนใจว่าแตกต่างยังไง นึกว่าแค่ใช้คำแตกต่างกันไปตามบริษ้ท 555 ให้ความรู้ดีมากเลย (*^_^*)

    ตอบลบ
    คำตอบ
    1. ตอนแรกก็คิดว่าคืออันเดียวกันเหมือนกัน 555

      ลบ
  4. เพิ่งรู้ถึงความต่างของ消費期限กับ賞味期限ก็วันนี้ มีประโยชน์มากๆเลย

    ตอบลบ
  5. พึ่งรู้เหมือนกันค่ะ ผู้เขียนช่างสังเกตมากๆ ขอชื่นชมม เเต่คนที่อ่านญี่ปุ่นไม่ออกไปซื้อขนมญี่นี่คงลำบากเเย่เลย มีเเต่คันจิ เเถมเรียงเป็นปีเดือนวันอีก

    ตอบลบ
    คำตอบ
    1. ขอบคุณค่ะ นั่นสิ เผลออ่านสลับเป็นวัน กับ เดือน ล่ะแย่เลย 55

      ลบ